ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา OPTIONS

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Options

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Options

Blog Article

เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ที่ถึงแม้จะตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ด้วยความตั้งใจมากแค่ไหนก็ไม่พ้นคำครหาเรื่องความรู้และวุฒิการศึกษาที่หลายคนในสังคมมองว่ายังไม่เพียงพอที่จะทำหน้าที่ครู เด็กจะมีคุณภาพการศึกษาที่ดีได้อย่างไรถ้าได้เรียนกับคนที่ไม่ได้เรียนมาโดยตรง หรือไม่ก็ได้สอนไม่ตรงตามสาขาวิชา “มาสอนเด็ก เด็กจะได้อะไร เด็กจะมีคุณภาพการศึกษาได้อย่างไร” นี่ไม่ใช่คำถาม แต่เป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข หนึ่งในปัญหาสำคัญที่ตัวครูนกและครู ตชด. ท่านอื่นเองก็ตระหนักในเรื่องนี้ดี 

เมื่อเวลาเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ก็เปลี่ยนไป บริบทของคนในพื้นที่ที่เคยเป็นแนวร่วมคอมมิวนิสต์ได้เปลี่ยนเป็นนักพัฒนาเปลี่ยนพื้นที่ให้มีความมั่นคงเข้มแข็ง และบทบาทหน้าที่ของ ตชด. ก็ปรับเปลี่ยนไปตามกาลเวลาเช่นกัน แต่มือก็ยังถือชอล์กเขียนกระดานดำ และยกระดับเป็นครูตชด.นักพัฒนาที่สร้างความเข้มแข็งในพื้นที่อย่างยั่งยืน ด้วยความรู้ ทักษะวิชาชีพเพื่อการพัฒนาประชาชนในพื้นที่อย่างรอบด้าน  แต่มีปัญหาที่รอการแก้ไขหนึ่งเรื่องสำคัญคือ ความรู้การสอนของครู ตชด.

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในประเทศไทยเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น และยังคงอยู่มาอย่างยาวนาน ซึ่งเป็นผลมาจากความเหลื่อมล้ำในด้านต่างๆ เช่น คุณภาพของโรงเรียนที่แตกต่าง การศึกษาไม่ทั่วถึงในพื้นที่ห่างไกล การขาดแคลนทุนการศึกษา ปัญหาเศรษฐกิจ และโรคระบาด เป็นต้น จึงส่งผลทำให้เยาวชนไทยจำนวนมากถูกช่วงชิงสิทธิขั้นพื้นฐานในการที่จะได้รับความรู้ และถูกผลักออกจากระบบการศึกษาในที่สุด

เปลี่ยนมือที่ถืออาวุธ เป็นถือชอล์กเขียนกระดานดำ

ผู้ว่าราชการท่านมาแล้วก็ไป สุดท้ายคนที่จะต้องลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาร่วมกันก็ต้องเป็นคนในจังหวัดนั้นๆ”

เดินหมากธุรกิจอย่างไรในเกมกระดานโลก

ปักหมุดความเหลื่อมล้ำ แก้โจทย์โรงเรียนขนาดเล็ก

ผลลัพธ์ข้างต้นยังสอดคล้องกับการสำรวจในสหราชอาณาจักรที่พบว่า ทักษะทางด้านอารมณ์และสังคมสามารถช่วยคาดการณ์อนาคตของคนๆ หนึ่ง ตั้งแต่การเข้าเรียน การได้รับปริญญา การทำงาน หรือแม้แต่ใช้คาดการณ์ว่าคนๆ นั้นมีแนวโน้มจะก่ออาชญากรรมหรือไม่ด้วย

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) คือ หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา โดยให้รัฐเป็นผู้จัดสรรงบประมาณ กสศ.

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย. เปลี่ยน ‘เหลื่อมล้ำ’ เป็น ‘เสมอภาค’ : มองปัญหาการศึกษาไทยกับ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ดร.

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ สิทธิกานต์ ธีระวัฒนชัย เขียนถึงระเบียบใหม่เรื่องทรงผมนักเรียนที่คล้ายจะมีพัฒนาการในแง่บวก แต่ยังไม่ได้คำนึงถึงสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของนักเรียนอย่างแท้จริง

Report this page